xlbt.vip

ประเภท ของ บทเพลง ไทย

ราคา-mg-gs-pantip

บทเพลงที่บรรเลงประกอบการขับร้อง ประกอบด้วย 2.

ลักษณะของบทเพลงไทย

วงปี่พาทย์ชาตรี ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียก " ปี่พาทย์เครื่องห้าชนิดเบา " เพราะมีน้ำหนักเบา ใช้บรรเลงประกอบการแสดงละครชาตรีต่อมาจึงเรียกชื่อตามละคร ใช้เครื่องดนตรี ดังนี้ ปี่นอก ฆ้องคู่ กลองชาตรี โทนชาตรี ฉิ่ง 2. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง เป็วงที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าและเครื่องตีนิยมบรรเลงทั่วไป เช่นบรรเลงดนตรีล้วนๆ หรือประกอบการขับร้อง มี 3 ขนาด ดังนี้ 2. 1 วงปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องห้า ประกอบด้วย ปี่ใน ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด 2. 2 วงปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องคู่ ปี่นอก ปี่ใน ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบเล็ก กรับ โหม่ง 2. 3 วงปี่พ

3 เพลงเกร็ด คือ เพลงที่มิได้เรียบเรียงเป็นชุด โดยการบรรเลงนั้นจะนำเพลงใดเพลงหนึ่งมาบรรเลงอย่างเอกเทศ เช่น เพลงเขมรพระประทุม เพลงสารถี สามชั้นเพลงลาวคำหอม เป็นต้น ซึ่งเป็นการบรรเลงเพียงอัตราจังหวะเดียว เพลงประเภทนี้ใช้สำหรับการบรรเลงเพียงเวลาสั้นๆ โดยไม่มีข้อกำหนดในการบรรเลง เพลงเดี่ยว คือ บทเพลงที่โบราณจารย์ได้ประพันธ์ขึ้น อาจเป็นเพลงบรรเลงเพียงอย่างเดียว หรือประกอบการขับร้องก็ได้ มีจุดประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อแสดงความสามารถและความจำของนักดนตรีที่มีต่อการบรรเลงเครื่องดนตรีนั้นได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ 2. เพื่ออวดฝีมือของนักดนตรี เนื่องจากเพลงเดี่ยวเป็นการรวบรวมเทคนิคการบรรเลงรูปแบบต่างๆ ไว้อย่างครบถ้วน 3. เพื่อแสดงไหวพริบปฏิภาณ และภูมิปัญญาทางดนตรีของผู้ประดิษฐ์ทำนองว่ามีความวิจิตรพิสดารมากน้อยเพียงใด 4. เพื่อแสดงสำนวนกลอนในบทเพลงว่ามีความไพเราะคมคาย และสอดคล้องกันมากน้อยเพียงใด โดยจะมีการประดิษฐ์ทำนองให้มีความเหมาะสมกับการใช้เทคนิคของแต่ละเครื่องมืออย่างชัดเจน เพลงเดี่ยวที่นิยมเดี่ยวในปัจจุบันได้แก่ เพลงเดี่ยวกราวใน 2 ชั้น เพลงเดี่ยวแขกมอญ 3 ชั้น เพลงเดี่ยวพญาโศก 3 ชั้น เพลงเดี่ยวลาวแพน เป็นต้น

สานวน ทานองของเพลง ทส่ี อดคลอ้ งเหมาะสม และตอ้ งอยใู่ นอตั ราจงั หวะเดยี วกนั สว่ นบทรอ้ งจะเป็นอยา่ งไรไมถ่ อื เป็นสาคญั เชน่ เพลงตบั ลมพดั ชายเขา เพลงตบั เพลงยาว เป็นตน้ เพลงขับร้อง: เพลงเบด็ เตลต็  ใช้ขบั รอ้ งทวั่ ไป ผปู้ ระพนั ธส์ ่วนใหญ่ประพนั ธข์ นึ้ เพ่ือ ความสนุกสนาน หรอื เพ่ือสอนใจ เนื้อหาอาจอย่ใู นรปู ชม ธรรมชาติ ชมผหู้ ญิง บรรยายความรกั

ประเภทของเพลงไทยเดิม

  1. ประเภทของเพลงไทยเดิม
  2. หน่วยที่ 1 วงดนตรีและบทเพลง | ศิลปะพื้นฐาน(สาระดนตรี) ม.6 ภาค 1
  3. ประวัติและความเป็นมาของเพลงไทยเดิม – เพลงชาติไทย สื่อถึงอะไร… ทำไมต้องร้องเพลงชาติ

2 เพลงโหมโรงที่เป็นอัตราจังหวะสามชั้น บรรเลงต่อด้วยทำนองท่อนจบของเพลงวา เรียกว่าโหมโรงเสภา หรือโหมโรงวา ซึ่งสามารถใช้บรรเลงได้ทั้งวงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี เช่น เพลงโหมโรงไอยเรศ เพลงโหมโรงเยี่ยมวิมาน เพลงโหมโรงปฐมดุสิต เป็นต้น 1.

เพลงชั้นเดียว เพลงชั้นเดียว เป็นลักษณะแบบแรกกำเนิดเพลงไทยเดิม ซึ่งก็จะมีจังหวะดนตรีเร็วและมีคำร้องแบบสั้นๆ โดยจะสังเกตได้จากเสียงฉิ่งฉับที่ดังกระชับติดกันต่อเนื่องไปจนจบเพลงนั่นเอง โดยในอดีตนั้นคนส่วนใหญ่จะนิยมใช้เพลงชั้นเดียวในการเต้นรำ ทำกิจกรรมสนุกๆ ต่างๆ แต่ในปัจจุบันนี้เราจะไม่ค่อยได้ยินเพลงชั้นเดียวมากนัก ซึ่งก็จะใช้เพื่อการแสดงมหรสพมากกว่า 2. เพลงสองชั้น เพลงสองชั้น เป็นเพลงที่มีการขับร้องและจังหวะแบบปานกลาง ไม่เร็วหรือไม่ช้าจนเกินไป แต่ก็มีความยาวของเนื้อเพลงที่ยาวกว่าเพลงชั้นเดียวถึงเท่าตัวเลยล่ะ ซึ่งเราสามารถสังเกตเพลงสองชั้นได้จากเสียงฉิ่ง…ฉับ ที่มีความห่างกันพอสมควร เนื้อร้องมีการเอื้อนหน่อยๆ ต่างจากเพลงชั้นเดียวที่ไม่มีการเอื้อนเลย 3. เพลงสามชั้น เพลงสามชั้น เป็นเพลงที่มีจังหวะช้า มีการเอื้อนและทำนองร้องที่นานมาก และช่วงความห่างระหว่างเสียงฉิ่ง…ฉับ ก็ห่างพอสมควรเช่นกัน ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะนิยมใช้ในการขับกล่อมและการบรรเลงในโอกาส พิธีการต่างๆ นั่นเอง 4. เพลงโหมโรง เพลงโหมโรง เป็นเพลงที่ใช้ในการเปิดงานพิธีสำคัญต่างๆ เพื่อเป็นการแสดงความเคารพต่อครูอาจารย์ และเป็นการประกาศถึงการเริ่มเปิดงานนั่นเอง ซึ่งเพลงโหมโรงนั้นก็ยังแบ่งย่อยได้อีก เป็น เพลงโหมโรงเช้า โหมโรงกลางวัน โหมโรงเย็นและโหมโรงเสภา เพลงไทยเดิม นอกจากจะเป็นเพลงดั้งเดิมของไทยเราที่ควรค่าแก่การรักษาไว้แล้ว ยังเป็นเพลงประจำชาติอีกด้วย ดังนั้นจึงควรธำรงค์รักษาไว้ และสืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของไทย ทั้งดนตรี การขับร้อง และการบอกเล่าเรื่องราวการถือกำเนิดเพลงไทยเดิมให้แก่คนรุ่นหลังได้ฟัง ซึ่งนี่ก็เป็นเพียงประวัติและข้อมูลคร่าวๆ เท่านั้น เพลงไทยเดิมยังมีเรื่องราวให้ได้ศึกษาอีกมากมายเลยทีเดียว

Monday, 08-Aug-22 19:30:05 UTC